เบอร์โทรศัพท์
054-466-666
ต่อ 7000
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 - 16:00 น.
ห้องฉุกเฉิน 054-466-758
ห้องฉุกเฉิน ให้บริการทุกวัน 24 ชั่วโมง
upmed@up.ac.th
สายตรงผู้อำนวยการ
แจ้งเรื่องร้องเรียน
เกี่ยวกับโรงพยาบาล
ประวัติโรงพยาบาล
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
คณะผู้บริหาร
คณะกรรมการชุดต่างๆ
โครงสร้างหน่วยงาน/อำนาจหน้าที่
รายงานประจำปี
แผนยุทธศาสตร์
แผน/มาตรการต่างๆ
ข้อมูลสถิติ
เจตจำนงสุจริต
แนะนำสถานที่
ข่าวและกิจกรรม
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
กิจกรรม
จัดซื้อ/จัดจ้าง
รับสมัครงาน
บริการทางการแพทย์
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ตารางเวลาออกตรวจแพทย์
แผนผังอาคาร
คู่มือการให้บริการ
สิทธิการรักษาประกันชีวิต/ประกันสุขภาพ
ห้องพักผู้ป่วย
ติดต่อเรา
หน่วยงานภายใน
หน้าหลัก
ฝ่ายอำนวยการ
ฝ่ายบริการปฐมภูมิและสร้างเสริมสุขภาพ
ฝ่ายการพยาบาล
ฝ่ายการบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ
ฝ่ายพัฒนาและสนับสนุนระบบบริการสุขภาพ
แพทย์แผนไทย
แพทย์แผนจีน
ศูนย์บริการธาลัสซีเมีย
ตารางออกตรวจแพทย์
โครงสร้างหน่วยงาน
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยพะเยา มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ให้การบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งการป้องกัน การรักษา การฟื้นฟูสุขภาพ ในด้านโรคทั่วไป ด้านการสาธารณสุขแก่ประชาชนทั่วไป และเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกประเท โดยครอบคลุมทั้งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์แผนตะวันออก ได้แก่ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ และการแพทย์แผนจีน เน้นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ในการให้บริการสุขภาพและการบริหาร
(๒) รับการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนอื่นๆ ในเครือข่ายเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) หรือส่งต่อผุ้ป่วยไปยังโรงพยาบาลของรัฐและเอกชนอื่นๆ ที่มีเครื่องมือเฉพาะพร้อมบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านนั้นๆ
(๓) เป็นแหล่งฝึกปฎิบัติงานของนิสิตทางวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นคลินิก ได้แก่ แพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ แพทย์แผนจีน แพทย์แผนไทยประยุกต์ เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด ปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์และอื่น ๆ รวมทั้งผู้เข้าศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาหรือระดับอื่นที่เน้นการปฏิบัติโดยตรงต่อผู้ป่วย
(๔) ทำการวิจัย และสนับสนุนการวิจัยในสาขาที่มีความเชี่ยวชาญรวมทั้งสนับสนุนการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาและการฝึกอบรมตามระดับ และประเภทต่าง ๆ ของวิชาชีพเวชกรรม และวิชาชีพอื่น
(๕) พัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ ให้เป็นประโยชน์ต่อการรักษาและลดการนำเข้าของยา เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ ทางการแพทย์บางชนิด ซึ่งสามารถผลิตใช้ภายในประเทศและเพื่อการส่งออกในอนาคต
(๖) สร้างและพัฒนารูปแบบความร่วมมือระหว่างคณะต่าง ๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพในมหาวิทยาลัย เพื่อการดำเนินการตามภารกิจของโรงพยาบาลในลักษณะการทำงานเป็นทีมที่มีบูรณาการกันรวมถึงการสร้างความร่วมมือกับชุมชนด้วย